- ปีดับคนดังPosted 10 hours ago
- เรื่องยังไม่จบPosted 2 days ago
- ต้องช่วยผู้หญิงขึ้นจากขุมนรกPosted 3 days ago
- คนดีสยบทุกอย่างได้Posted 3 days ago
- จัดการได้ก็ทำเถอะPosted 7 days ago
- ชวนทำบุญครั้งสุดท้ายPosted 1 week ago
- อย่าไปซ้ำเติมPosted 1 week ago
- คงมีโอกาสดีได้นะPosted 1 week ago
- ช่วยสร้างบรรยากาศชื่นมื่นPosted 1 week ago
- หนีกรรมไม่พ้นPosted 2 weeks ago
ผลวิจัย Thailand Micro-moments
Google ประเทศไทย และ IPSOS ได้เปิดเผยผลการรายงานล่าสุดที่ ให้ภาพรวมที่น่าตื่นเต้นเกี่ยวกั บบทบาทที่อินเทอร์เน็ตมีต่อการดำ เนินชีวิตของผู้บริโภคไทยในปี 2559
นับทศวรรษที่นักการตลาดในภูมิภา คเอเชียแปซิฟิกได้ดูแนวทางของสห รัฐอเมริกาเพื่อนำมาปรับให้เข้ ากับวิธีคิดเกี่ยวกับโลกออนไลน์ — แต่เรากำลังมาถึงจุดบรรจบที่สะท้ อนถึงการเปลี่ยนแปลง
ประเทศอินเดียนำหน้าสหรัฐอเมริก าโดยเป็นประเทศที่มีพลเมืองออนไ ลน์มากเป็นอันดับสองของโลกถั ดจากประเทศจีน (ที่มา: Mary Meeker, 2016)
เอเชียแปซิฟิกเป็นผู้นำของโลกกา รใช้งบโฆษณาดิจิทัลที่สัดส่วน 34% (ที่มา: eMarketer, 2016) โดยภูมิภาคนี้ได้เป็นศูนย์กลางข องทุกสิ่งอย่างเกี่ยวกับดิจิทัล โดยแรงผลักที่อยู่เบื้องหลังการ เปลี่ยนแปลงนี้คือโทรศัพท์มือถื อ
ผู้บริโภคในเอเชียแปซิฟิกกำลังเ ดินนำหน้าโดยเฉพาะในเรื่องโมบาย ล์ (อุปกรณ์มือถือ) และคาดกันว่านักการตลาดในภูมิภา คนี้จะมีการใช้งบโฆษณาบนโมบายล์ (อุปกรณ์มือถือ) เป็นอันดับ 1 ของโลกในปี 2017 (eMarketer, 2016)
เราร่วมมือกับ IPSOS เพื่อเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกั บจังหวะชีวิตเล็กๆ หรือ Micro Moment ของผู้บริโภคในเอเชียแปซิฟิกและ ผู้บริโภคชาวไทยซึ่งคือช่วงเวลา หนึ่งที่ผู้คนเปิดและใช้สมาร์ ทโฟนเพื่อเรียน เพื่อค้นหาหรือเพื่อซื้อสินค้า
เราพบว่า: 4 ใน 10 ตลาดสมาร์ทโฟนลำดับต้นๆ ของโลกอยู่ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิ ก โดยสิงคโปร์และเกาหลีใต้อยู่ในลำ ดับที่ 4 โดยมีสัดส่วนถึง 91% และ 9 ประเทศในเอเชียมีสัดส่วนการเป็น เจ้าของสมาร์ทโฟนที่เท่ากับหรือ สูงกว่าในประเทศสหรัฐอเมริกา (72%) โดยประเทศไทยก็ตามมาอย่างรวดเร็ วที่ 70% (เพิ่มจาก 64% ในปีที่แล้ว)
ข้อมูลเชิงลึก 4 อย่างที่เรารวบรวมมาจากงานวิจัย :
Insight #1: ผู้บริโภคในเอเชียรู้ว่าพวกเขาต้ องการอะไร และต้องการสิ่งนั้นเดี๋ยวนี้
ผู้บริโภคในเอเชียตัดสินใจเร็วม าก 97% ของผู้ใช้สมาร์ทโฟนในประเทศไทยแ ละเวียดนามบอกว่าการหาข้อมูลทาง ออนไลน์มีส่วนสำคัญในการตัดสิ นใจซื้อได้เร็วกว่าสองสามปีที่ ผ่านมา
Insight #2: ในเอเชียความภักดีต่อแบรนด์เกิด ขึ้นเป็นช่วงๆ
ผู้บริโภคที่ใช้สมาร์ทโฟนเป็นหลั กในเอเชียแปซิฟิกเปิดรับกับแบรน ด์ใหม่ๆ ซึ่งเป็นข่าวที่น่าตื่นเต้นสำหรั บนักการตลาด 89% ของผู้ใช้สมาร์ทโฟนชาวไทยบอกว่า พวกเขาไม่เจาะจงกับแบรนด์ใดแบรน ด์หนึ่งแน่นอน พวกเขาต้องการซื้อเมื่อเริ่มหาข้ อมูลออนไลน์
Insight #3: แบรนด์ที่ให้ความช่วยเหลือดี มาเป็นอันดับแรกๆ
ไม่ว่าจะเป็น YouTube วิดีโอเกี่ยวกับการแนะนำ ช่วยเหลือด้านต่างๆ หรือ หรือโมบายล์แอปที่ปรับเนื้อหาสำ หรับตลาดนั้นๆ โดยเฉพาะ ผู้บริโภคในเอเชียชอบแบรนด์ที่ใ ห้พร้อมให้ความช่วยเหลือ ผู้ใช้สมาร์ทโฟนไทย 85% ระบุว่าน่าจะซื้อสินค้าจากบริษั ทที่มีคำแนะนำการใช้งานเป็นวิดี โอ — ซึ่งเป็นอัตราที่สูงที่สุดในเอเ ชียแปซิฟิก เมื่อเทียบกับผู้บริโภคอเมริกัน ที่มีสัดส่วนเพียง 48%
Insight #4: โมบายล์กระตุ้นการขายทั้งแบบอี- คอมเมิร์ซและในร้าน
โมบายล์ช่วยผู้บริโภคให้ทำสิ่งที่ จำเป็น เช่นมองหาเส้นทางและโทรศัพท์สอบ ถามร้านค้าที่ตนเองต้องการไปอุ ดหนุน ซึ่งในประเทศไทยเรื่องนี้มีควา มเป็นจริงมากที่ 91% ของผู้ใช้สมาร์ทโฟน — ซึ่งเป็นสัดส่วนที่สูงที่สุดในภู มิภาคเอเชียแปซิฟิก — ได้ใช้ฟีเจอร์ระบุตำแหน่งร้านค้ า โมบายล์ไม่เป็นเพียงการพาลูกค้ าไปที่ร้านเท่านั้น แต่มันยังนำประสบการณ์ต่อไปจนถึ งกระบวนการเช็คเอ้าท์หรือจ่ายเงิ น 43% ของผู้ใช้สมาร์ทโฟนไทยไปที่ร้าน ค้าหลังจากเห็นข้อความเกี่ยวกั บธุรกิจนั้นๆ ผ่านทางสมาร์ทโฟน และมีคนไทยจำนวนสูงถึง 91% ที่ยังใช้สมาร์ทโฟนเป็นผู้ช่วยต่ อไปในขณะที่อยู่ในร้าน
นี่เป็นเพียงตัวอย่างบางส่วนที่ งานวิจัยได้พบ คุณสามารถอ่านข้อมูลเชิงลึกเพิ่ มเติมได้ที่ Think with Google.
You must be logged in to post a comment Login