- อย่าไปอินPosted 3 days ago
- ปีดับคนดังPosted 4 days ago
- เรื่องยังไม่จบPosted 5 days ago
- ต้องช่วยผู้หญิงขึ้นจากขุมนรกPosted 6 days ago
- คนดีสยบทุกอย่างได้Posted 7 days ago
- จัดการได้ก็ทำเถอะPosted 1 week ago
- ชวนทำบุญครั้งสุดท้ายPosted 1 week ago
- อย่าไปซ้ำเติมPosted 2 weeks ago
- คงมีโอกาสดีได้นะPosted 2 weeks ago
- ช่วยสร้างบรรยากาศชื่นมื่นPosted 2 weeks ago
กสอ. โชว์ “สมาร์ท ฟาร์มหมู”
ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวว่า อุตสาหกรรมการเกษตรถือเป็ นรากฐานทางเศรษฐกิ จของประเทศไทยที่มีมาอย่ างยาวนานและต่อเนื่อง และถือเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้ าหมายในประเภทอุตสาหกรรมเดิม ที่มีบทบาทและทิศทางการเติบโตที่ สอดคล้องกับค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมของประเทศ หรือ GDP ในระดับสูง โดยสามารถนำไปเชื่อมโยงการผลิ ตระหว่างภาคเกษตรและภาคอุ ตสาหกรรมอื่น ๆ ทั้งที่เป็นอุตสาหกรรมหลักและอุ ตสาหกรรมสนับสนุนได้อย่ างหลากหลาย ต่อยอดสู่การเป็นผลิตภัณฑ์และสิ นค้าใหม่ ๆ เพื่อสร้างมูลค่าให้เกิดขึ้น พร้อมทั้งเป็นส่วนสำคัญต่ อการผลิตปัจจัยสี่โดยเฉพาะในอุ ตสาหกรรมอาหารและอาหารแปรรูปที่ นำมาซึ่งรายได้หลัก สามารถนำไปสู่การจ้างงาน ตลอดจนเพิ่มรายได้ประชาชาติที่ สูงขึ้น ซึ่งในอนาคตอุตสาหกรรมประเภทนี้ จะยิ่งทวีความสำคัญในด้ านบทบาทและการเป็นพื้นฐานที่ จำเป็นที่จะต้องเร่งพัฒนาเพื่ อการเติบโตทางเศรษฐกิจให้เกิดขึ้ นต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง
ดร.พสุ กล่าวเพิ่มเติมว่า การผลิตในภาคเกษตรและอุ ตสาหกรรมเกษตรของไทยถือว่ามี ความก้าวหน้ามากกว่าในอดี ตและประเทศเพื่อนบ้านเป็นอย่ างมาก แต่ก็ยังมีอุปสรรคที่สำคัญคือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวั ตกรรมที่มีในปัจจุบัน รวมทั้งต้นทุนการผลิ ตของประเทศเพื่อนบ้านที่ต่ำกว่ าทั้งในด้านวัตถุดิบและแรงงานซึ่ งเมื่อพิจารณาทิศทางในการพั ฒนาเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรแล้ว จำเป็นจะต้องพัฒนาตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ รวมทั้งการพัฒนาในเรื่ องเทคโนโลยีและนวัตกรรม ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้ การดำเนินงานด้านอุตสาหกรรมเกิ ดความเข้มแข็ง อีกทั้งยังเป็นอาวุธที่จะช่ วยยกระดับความสามารถทางการแข่ งขันของไทยให้ก้าวเดิ นในตลาดโลกได้ ไม่ว่าจะเป็นการนำเทคโนโลยีดิจิ ทัลมาประยุกต์ใช้ในการจัดการข้ อมูลเพื่อการคาดการณ์ และการวางแผน การใช้ความรู้จากกระบวนการทางชี วภาพและวิทยาศาสตร์ต่างๆ มาใช้ปรับปรุงให้ผลิตผลเกิ ดประสิทธิภาพ มีสภาพที่สมบูรณ์จนถึงมือผู้บริ โภค รวมถึงการให้ความสำคัญกับการอยู่ ร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติ หรือกระบวนการเกษตรอย่างยั่งยืน ซึ่งกลยุทธ์และกลวิธีที่จะใช้ ในการดำเนินงานเหล่านี้จะช่วยส่ งผลให้ธุรกิ จการเกษตรของประเทศเติบโตได้อย่ างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
อย่างไรก็ดี การขับเคลื่อนอุ ตสาหกรรมการเกษตรด้วยนวั ตกรรมและเทคโนโลยีนั้น เป็นการตอบโจทย์หนึ่งในอุ ตสาหกรรมเป้าหมายของยุทธศาสตร์ ประเทศไทย 4.0 ที่จะช่วยให้กลุ่มธุรกิจดังกล่ าวนี้สามารถพัฒนาไปอย่างมีประสิ ทธิภาพและเป็นเสมือนการต่ อยอดความได้เปรียบให้เกิดขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้เกิดการสร้ างตลาดใหม่ ๆ หรือขยายผลจากนวัตกรรมทางธุรกิ จให้สามารถมีศักยภาพในการแข่งขั นเชิงพาณิชย์ ทั้งนี้ ยังเป็นเสมือนการต่อยอดให้เกิ ดการพัฒนาในอุตสาหกรรมอื่นๆที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปและอุ ตสาหกรรมอาหารแปรรูป อีกทั้งยังสอดคล้องกับความมุ่ งมั่นจากภาครัฐ ที่จะผลักดันให้ประเทศไทยยั งคงครองความเป็นผู้ผลิตสินค้ าเกษตรรายใหญ่ และเป็นประเทศศูนย์กลางผู้ผลิ ตอาหารป้อนแก่ผู้บริโภคในระดั บนานาชาติได้ต่อไป ทั้งนี้ ในปี 2560 กสอ. ได้จัดเตรียมโครงการเพื่อการพั ฒนาและรองรับการเติบโตอุ ตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมอื่ นๆ ที่เกี่ยวข้อง กว่า 10 โครงการ ภายใต้งบประมาณกว่า 80 ล้านบาท เพื่อพัฒนาและยกระดับ SMEs จำนวน 280 กิจการ / 890 คน และเกิดการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ 120 ผลิตภัณฑ์ อาทิ โครงการพัฒนาอุ ตสาหกรรมเกษตรแปรรูป โครงการพัฒนาอุ ตสาหกรรมอาหารแปรรูป โครงการพัฒนาอุ ตสาหกรรมอาหารฮาลาล เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีโครงการที่ส่งเสริมในระดั บภูมิภาค ได้แก่ โครงการ Thailand Food Valley ที่เร่งผลักดันผลลัพธ์ให้เกิดศู นย์กลางเกษตรและการผลิ ตอาหารในแต่ละพื้นที่ โดยพบว่าภาคเหนือของประเทศไทยจั ดเป็นพื้นที่ที่มีศั กยภาพในการผลิตภูมิภาคหนึ่ง ด้วยจุดแข็ งจากความหลากหลายและคุณภาพของสิ นค้า สามารถเป็นได้ทั้งแหล่งผลิ ตและแหล่งแปรรูป รวมทั้งมีสถาบันและโครงการเพื่ อการวิจัยเทคโนโลยีที่ จะสามารถแปรองค์ความรู้ และกระบวนการต่างๆ โดยมีการจัดตั้งศูนย์ ประสานงานระดับปฏิบัติการ (Command Center) ณ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 เพื่อขับเคลื่อน Northen Thailand Food Valley ในพื้นที่ภาคเหนือ รวมทั้งมีการบูรณาการกับสภาอุ ตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่ และสถาบันการศึกษาในพื้นที่ ร่วมกันดำเนินการให้เกิดการพั ฒนาได้อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งในอนาคตหากมีการพัฒนาด้ วยกระบวนการเหล่านี้มากขึ้น ก็จะยิ่งนำมาซึ่งการสร้างมูลค่ าเพิ่มทางธุรกิจ และเป็นจุดแข็งที่สามารถผลักดั นสู่เวทีการค้าในระดับสากลได้ต่ อไป ดร.พสุ กล่าวปิดท้าย
ด้านนายวรพงศ์ จีรประภาพงศ์ ผู้จัดการทั่วไปสายงานผลิตภัณฑ์ อาหารในเครือวีพีเอฟ กล่าวว่า ในปัจจุบันอุตสาหกรรมเกษตรมี การแข่งขันกันมากขึ้นทั้ งจากในและต่างประเทศ โดยในอนาคตจะมีความน่าเป็นห่ วงอย่างยิ่ง เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านทั้ งเมียนมาร์ เวียดนาม และกัมพูชา มีการขยายตัวจากการทำเกษตรมาเป็ นอุตสาหกรรมเกษตรมากขึ้น โดยสิ่งที่น่าเป็นห่วงมากที่สุ ดคือประเทศเหล่านี้มีการพั ฒนาแบบก้าวกระโดด สามารถเรียนรู้และพัฒนาการทำอุ ตสาหกรรมของตนเองได้อย่างรวดเร็ ว ดังนั้น บริษัทจึงต้องมีการปรับเปลี่ ยนรูปแบบการดำเนินงานและวิธี การและปรับตัวตามยุคสมั ยในสภาวะที่มีการแข่งขันกันสูง ไม่ว่าจะเป็นการปรับปรุงพันธุ์ สัตว์เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีขึ้ น การเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า การปรับปรุงอุตสาหกรรมด้วยนวั ตกรรม อาทิ การใช้ระบบให้อาหารอัตโนมัติ ที่ สามารถคำนวณระยะเวลาและคำนวณระบ บการดูดซึมอาหารได้อย่างแม่นยำ พร้อมทั้งประสิทธิภาพการลดใช้ แรงงานคน ตลอดจนเพิ่มผลผลิตและคุณภาพให้ กับสินค้า นอกจากนี้ ยังมีการใช้นวัตกรรมไบโอฟิ ลเตอร์ที่เป็นเสมือนตัวบังช่ องลมเพื่อกำจัดและลดกลิ่นไม่พึ งประสงค์ ระบบการจัดการโรงเรือน ระบบก๊าซชีวภาพและไฟฟ้า ระบบข้อมูลและสารสนเทศ ยิ่งไปกว่านั้น บริษัทยังรุดเพิ่มมูลค่าให้กั บสินค้าด้วยการพัฒนาควบคู่ไปกั บอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป พร้อมทั้งการขยายช่องทางการค้ าด้วยการสร้างศูนย์การค้าปลีก และร้านอาหารแบบครบวงจร ซึ่งในอนาคตจะสามารถพัฒนาไปสู่ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และการเป็นอุตสาหกรรมด้านการบริ การ โดยการปรับตัวในหลายๆ ด้านดังกล่าวนี้จะช่วยให้ธุรกิ จเติบโตได้อย่างมั่นคงและยั่งยื น
นายวรพงศ์ กล่าวต่อว่า นอกเหนือจากบริษัทจะพัฒนานวั ตกรรมเพื่อการดำเนินธุรกิจแล้ว ปัจจุบันยังมุ่งเน้นนโยบายในเรื่ อง Green Supply Chain ซึ่งประกอบด้วย Green Feed ,Green Farm ,Green Power, Green Pork, Green Food และ Green Society ซึ่งเป็นการผลักดันตนเองให้เป็ นฟาร์มสีเขียว โดยคำนึงถึงด้านความปลอดภั ยและการอยู่ร่วมกันกับทรั พยากรธรรมชาติ มีการจัดการพลังงานและความรับผิ ดชอบต่อสังคม ซึ่งในด้านการพัฒนาตลอดห่วงโซ่ เหล่านี้จะช่วยให้การดำเนินอุ ตสาหกรรมสามารถอยู่ร่วมกับสั งคมได้อย่างยั่งยืน ทั้งนี้ บริษัท ยังได้น้อมนำแนวพระราชดำริ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มาปรับใช้ในการทำเกษตรและอุ ตสาหกรรม โดยยึดถือหลักการเกษตรยั่งยืน ทั้งการประยุกต์ใช้การแบ่งปันพื้ นที่เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดของฟาร์ม ด้วยการให้บุคลากรหรือพนั กงานสามารถใช้พื้นที่ภายในเพื่ อการเพาะปลูก นำมาซึ่งการสร้างรายได้ที่เพิ่ มขึ้น โดยรายได้เหล่านี้เกิดจากการค้ าขายระหว่างชุมชน รวมทั้งการค้าขายให้กั บโรงอาหารภายใน นอกจากนี้ยังมีการนำมูลสุกรที่ เหลือใช้มาสร้างพลังงานทดแทน ด้วยการพัฒนาสู่ไบโอแก๊ส ปุ๋ยอินทรีย์ รวมทั้งการผลิตกระแสไฟฟ้าจากแก๊ สมีเทนที่สามารถใช้งานได้จริ งพร้อมทั้งลดค่าใช้จ่ ายและการใช้พลังงานได้กว่า 12 ชั่วโมง ยิ่งไปกว่านั้นบริษัทยังมี การใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝกและผั กตบชวา ซึ่งถือเป็นพืชมหัศจรรย์ เพื่อการบำบัดน้ำเสียและป้องกั นหน้าดินไม่ให้พังทลาย โดยการใช้ประโยชน์ดังที่กล่ าวมานี้จะช่วยให้ ระบบเกษตรกรรมและอุ ตสาหกรรมดำเนินต่อเนื่องไปได้ นานที่สุด โดยไม่ส่งผลกระทบด้านลบต่ อระบบนิเวศวิทยา และไม่เกิดปัญหาทั้งด้านสุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจ
You must be logged in to post a comment Login