- “ทักษิณ” ยังมีมนต์ขลังPosted 1 day ago
- อย่าไปอินPosted 4 days ago
- ปีดับคนดังPosted 5 days ago
- เรื่องยังไม่จบPosted 6 days ago
- ต้องช่วยผู้หญิงขึ้นจากขุมนรกPosted 1 week ago
- คนดีสยบทุกอย่างได้Posted 1 week ago
- จัดการได้ก็ทำเถอะPosted 2 weeks ago
- ชวนทำบุญครั้งสุดท้ายPosted 2 weeks ago
- อย่าไปซ้ำเติมPosted 2 weeks ago
- คงมีโอกาสดีได้นะPosted 2 weeks ago
TCDC แนะเติม “ดีไซน์ทิงค์กิ้ง”รุกตลาดปี60
นายอภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล ผู้อำนวยการศูนย์สร้างสรรค์ งานออกแบบ (TCDC) กล่าวว่า อุตสาหกรรมสร้างสรรค์และการออกแ บบเป็นหนึ่งในตัวแปรสำคัญที่ สามารถนำไปต่อยอดและพัฒนาเป็นข้ อได้เปรียบของประเทศไทย เนื่องการประเทศไทยมี รากฐานทางศิลปวัฒนธรรมที่โดดเด่ น นอกจากนี้ ความคิดสร้างสรรค์และทักษะด้ านการออกแบบยังเป็นหัวใจหลั กของการพัฒนาธุรกิจ หากผู้ประกอบการสามารถใช้หลัก “การคิดเชิงออกแบบ” หรือ Design Thinking ซึ่งเป็นกระบวนการคิดที่ทำให้ เข้าใจถึงปัญหา และความต้องการของผู้บริโภค เพื่อพัฒนาธุรกิจด้วยการสร้างมู ลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการ เพื่อให้ตอบโจทย์ตรงตามความต้ องการกลุ่มลูกค้าได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้นและกว้ างขวางขึ้น โดยกระบวนการดังกล่าวอาจเกิดขึ้ นในรูปแบบการร่วมกันคิด ร่วมกันสร้าง (Co-creation) โดยกระบวนการดังกล่าวถือเป็ นแนวทางสำคัญในการเพิ่มศั กยภาพการแข่งขันของผู้ ประกอบการในปี 2560
นายอภิสิทธิ์ กล่าวเสริมว่า เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ ได้จัดงานเทศกาลงานออกแบบเชี ยงใหม่ หรือเชียงใหม่ดีไซน์วีค โดยมีผู้ประกอบการเข้าร่ วมจำนวนมากโดยในจำนวนดังกล่ าวพบว่ามีตัวอย่างผู้ ประกอบการที่สามารถนำความคิดสร้ างสรรค์สามารถพัฒนาธุรกิจสร้ างมูลค่าเพิ่มได้มากกว่า 200 เปอร์เซ็นต์ และขยายฐานลูกค้าให้กับธุรกิจ อาทิ กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหาร (Food) ผลิตภัณฑ์ปรุงอาหารสำเร็จ “อีสคิทเช่น” ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ในการนำเสนออาหารไทย ที่มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก ให้มีมูลค่าที่สูงขึ้น และสามารถขยายตลาดไปทั่วโลกด้ วยมาตรฐานเดียวกัน กลุ่มบริการ (Service) ด้วยธุรกิจโอเอซิสสปา กับบริการนวด “เดอะโวยาดออฟโกลเด้นล้านนา” โดยสามารถประยุกต์ใช้ศิลปวั ฒนธรรมที่มีชื่อเสียงเข้าสู่ธุ รกิจบริการ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รั บประสบการณ์ที่แปลกใหม่ กลุ่มเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่ งบ้าน (Furniture) กับ เฟอร์นิเจอร์ขนมใส่ไส้แบรนด์ โมเบลลา สามารถนำเสนอเฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่งบ้านที่มีกลิ่ นอายความเป็นไทย หรือมีการคิดค้นเพื่อให้ ตอบโจทย์ฟังก์ชั่นการใช้ งานของผู้บริโภคได้มากขึ้น และ กลุ่มเครื่องแต่งกาย (Apparel) กับ จรรยา สตูดิโอ กับกระเป๋าผสมฝ้ายปั่นมื อและไหมสร้างความแปลกใหม่ด้ วยความคิดสร้างสรรค์ และถ่ายทอดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ สามารถใช้ได้ทุกวัน และนำเสนอความเป็นตัวตนของผู้ บริโภคได้
อย่างไรก็ตาม ทุกกลุ่มอุ ตสาหกรรมของประเทศไทยสามารถนำคว ามคิดสร้างสรรค์มาเป็นองค์ ประกอบหลักในการพัฒนาธุรกิจเพื่ อให้ตอบโจทย์กับผู้บริโภคในยุ คปัจจุบัน ที่มีการแข่งขันสูงในสินค้ าและบริการประเภทเดียวกัน ความคิดสร้างสรรค์จะนำไปสู่จุ ดขายที่เป็นข้อแตกต่าง และเป็นตัวชี้วัดในการตัดสิ นใจของผู้บริโภค โดยหากผู้ประกอบการหันมาให้ ความสนใจในด้านนี้มากขึ้นแล้วนั้ น จะทำให้ประเทศไทยสามารถก้าวข้ ามผ่านประเทศรายได้ปานกลางสู่ ประเทศไทยสูงตามยุทธศาสตร์ ของประเทศ นายอภิสิทธิ์ กล่าวทิ้งท้าย
นายสมิต ทวีเลิศนิธิ กรรมการผู้จัดการ บริษัท นิธิฟู้ดส์ จำกัด กล่าวว่า ผลิตภัณฑ์ อีสคิทเช่น เกิดจากแนวคิดที่ต้องการนำเสนอผ ลิตภัณฑ์ปรุงอาหารสำเร็จที่มี เอกลักษณ์ของตัวเอง ซึ่งอีสคิทเช่นจะมีความโดดเด่ นที่การนำเสนอรสชาติ ของอาหารไทยผ่านผลิตภัณฑ์ปรุ งรสอาหารแบบฟิวชั่น ที่ถูกปรับรสชาติให้เข้ากั บชาวต่างชาติ ลดความเผ็ด เพิ่มความเข้มข้นและความหนืด เพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในการทำอาหารชนิดอื่นที่มี รสชาติความเป็นไทยได้ เช่น นำไปปรุงเป็นซอสสปาเก็ตตี้ นำไปหมักสเต็ก หรือนำไปประกอบอาหารอื่ นตามความคิดสร้างสรรค์ของแต่ ละคน ซึ่งผลิตภัณฑ์ อีสคิทเช่นนี้ เป็นการใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่ อผลิตเป็นผลิตภัณฑ์อาหารสร้ างสรรค์สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ มขึ้นได้มากกว่า 400 เปอร์เซ็นต์ สามารถขยายกลุ่มเป้าหมายได้กว้ างขึ้นอย่างชัดเจน
นายอนุพล อยู่ยืน ผู้อำนวยการการออกแบบ บริษัท โมเบลลา แกลเลอเรีย จำกัด กล่าวว่า ผลงานทุกชิ้นของโมเบลลา ผ่านกระบวนการออกแบบด้วยความคิ ดสร้างสรรค์ เพื่อนำเสนอเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่ ไม่เหมือนใคร และแนวคิดการเริ่มต้ นออกแบบเฟอร์นิเจอร์ที่มีกลิ่ นอายความเป็นไทยและความเป็ นเอเชีย เริ่มต้นจากการสังเกตว่า เฟอร์นิเจอร์ในท้องตลาดเกือบทั้ งหมดเป็นการดีไซน์แบบตะวันตก อันนำไปสู่การเล็งเห็นโอกาสที่ จะประยุกต์และถ่ายทอดศิลปะ วัฒนธรรมไทยและเอเชียผ่ านการออกแบบผลิตภัณฑ์เฟอร์นิ เจอร์ ซึ่งทำให้ผลิตภัณฑ์ของโมเบลลามี ดีไซน์ที่เป็นเอกลักษณ์และมี คาแรคเตอร์ที่โดดเด่นไม่เหมื อนใคร จนกลายเป็นที่รู้จักของต่ างประเทศในวงกว้างขึ้นเรื่อยๆ และสามารถขยายฐานลูกค้าได้ปี ละกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ โดยหนึ่งในช่องทางหลักที่ทำให้ สามารถขยายฐานลูกค้าได้คือ การเข้าร่วมงานจั ดแสดงผลงานออกแบบ ซึ่งเมื่อ 2 ปีที่ผ่านมาก็ได้เข้าร่ วมเทศกาลงานออกแบบเชียงใหม่ และทำให้คอลเลคชั่น “ตะกร้อ” ที่จัดแสดงในงานนั้น ได้รับกระแสตอบรับที่ดี และเป็นที่รู้จักของทั้ งคนไทยและคนต่างชาติมากขึ้น ในปีนี้จึงได้เข้าร่วมเทศกาลนี้ อีกครั้ง พร้อมนำเสนอคอลเลคชั่น “ใส่ไส้” เฟอร์นิเจอร์ที่ได้รับแรงบั นดาลใจจากขนมที่มีเอกลักษณ์ ความเป็นไทย สามารถใช้งานได้ 2 รูปแบบทั้งเป็นเก้าอี้นั่ง และเตียงนอน ทั้งนี้ การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในทุกขั้ นตอนของผลิตภัณฑ์ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กั บผลิตภัณฑ์ได้สูงสุดถึงหลาย 10 เท่าตัว
นายภาคิน พลอยภิชา ประธานกรรมการผู้จัดการ ดิโอเอซิสสปา (ประเทศไทย) กล่าวว่า ด้วยการประยุกต์ใช้ความคิดสร้ างสรรค์ และความต้องการที่จะนำเสนอวั ฒนธรรมล้านนาให้เป็นที่รู้จั กในวงกว้าง จึงเกิดเป็นบริการนวดสุดพิ เศษของโอเอซิสสปา ภายใต้ชื่อ “เดอะ โวยาจ ออฟ โกลเด้น ล้านนา” (The Voyage of Golden Lanna) ที่ประยุกต์ใช้ศิลปวัฒนธรรมล้ านนาเข้าสู่การบริการนวดในรู ปแบบ ภูมิปัญญาล้านนาไทยผสานสุนทรี ยศาสตร์ด้านดนตรีบำบัด ร่วมกับการนวดน้ำมั นหอมระเหยผสมทองคำที่ปรุงขึ้นพิ เศษ ผ่านการนวด 4 มือสูตรเฉพาะ จากผู้นวด 2 คนในเวลาเดียวกันเพื่อปรับสมดุ ลของร่างกาย โดยดนตรีที่ใช้ประกอบการนวดได้ รับการประพันธ์โดย อาจารย์สุพจน์ สุขกลัด ผู้เชี่ยวชาญทางด้านประวัติ ศาสตร์และศิลปินล้านนา เป็นการนวดบำบัดที่มีเอกลักษณ์ โดยมีการประยุกต์ใช้ความคิดสร้ างสรรค์เพื่อเพิ่มขี ดความสามารถในการแข่งขัน และยกระดับการบริการเพื่อให้ผู้ ใช้บริการได้สัมผัสบริ การสปาไทยที่แปลกใหม่
นางสาวณัชชา อาทิตย์อังกูร นักออกแบบและผู้จัดการทั่วไป จรรยา สตูดิโอ กล่าวว่า การออกแบบผลิตภัณฑ์ทุกชิ้นของ จรรยา สตูดิโอ นั้นได้รับแรงบั นดาลใจมาจากความทรงจำในวัยเด็ กเกี่ยวกับศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน บอกเล่าเรื่องราววิถีชีวิตชุ มชนให้มีกลิ่นอายอยู่ในสิ่ งของที่ใช้ได้จริงในชีวิ ตประจำวัน คอลเลคชั่นล่าสุดของ จรรยา สตูดิโอ จึงนำเสนอ “เทคนิคการจักสานและก่อสร้ างงานไม้ไผ่” คอลเลคชั่นกระเป๋าที่ใช้สีย้ อมจากธรรมชาติ ทำจากด้ายฝ้ายปั่นมือผสมไหม และสายหนังแท้ ซึ่งเป็นการนำเสนองานหั ตถกรรมแบบชุมชนมาประยุกต์ใช้ผลิ ตเป็นกระเป๋าที่สามารถใช้งานได้ ทุกวัน ตัวกระเป๋าผลิตจากเส้นไหมเพื่ อเป็นเส้นยืน เพิ่มความเงางาม ความละเอียด และความนุ่มลื่นน่าสัมผัส ประกอบกับด้ายฝ้ายปั่นมือที่ใช้ เป็นเส้นพุ่ง เพื่อเพิ่มความแข็งแรง และทำให้ได้เป็นพื้นผิวที่เป็ นเอกลักษณ์ เทคนิคการทอที่ใช้เป็นการย้ อมเส้นด้ายก่อนทอเพื่อที่จะได้ กำหนดสีและพื้นผิวได้ตามที่ ออกแบบไว้ ตัดเย็บด้วยการพับมุม เล่นลวดลายด้วยการจับขอบ ผูกไขว้ ซ้อนทับ จนออกมาเป็นกระเป๋าที่มีพื้นผิ วคล้ายผิวตอกไผ่ โดยกระบวนการทำงาน และการผลิตเส้นฝ้าย เป็นการสร้างงานจากแรงงานชุ มชนเพื่อนำมาต่อยอดเป็นสินค้าดี ไซน์เฉพาะตัวของจรรยา สตูดิโอ ทั้งนี้ การเติมความคิดสร้างสรรค์เข้าสู่ ผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะสินค้าประเภทเสื้อผ้ าเครื่องแต่งกาย สามารถสร้างมูลค่าตลาดที่สูงขึ้ นจากการสร้างเรื่องราวและใส่ ความคิดสร้างสรรค์ให้สินค้า
You must be logged in to post a comment Login